ประกาศข่าว:
  • ขนาดตัวอักษร:
  • -ก ก+
TH
EN
สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.)
Office of the Royal Development Projects Board (ORDPB)

การศึกษาพฤกษเคมีและฤทธิ์ต้านเอนไซม์ไทไรซิเนสของพืชวงศ์ Moraceae

ปีที่เริ่มวิจัย
2561
ศูนย์การศึกษาพัฒนาฯ
พิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จ.นราธิวาส
สาขางานวิจัย
การพัฒนาเกษตรกรรม (พืช) ,
การพัฒนาเกษตรกรรม(พืช) ,
การพัฒนาปรับปรุงบำรุงดิน

ความเป็นมาและวัตถุประสงค์

     เชื้อราเป็นแหล่งของสารต้นจุสินทรีย์ที่รู้จักันมานานตั้งแต่มีการค้นพบยาเพนนิซิลลิน โดยเชื้อราที่ศึกษาส่วนใหญ่นั้นแยกได้จากดิน ราตินเป็นแหล่ผลิตที่สำคัญแหล่งหนึ่งของผลิตภัณฑ์ธรมชาติที่ไม่เพียงแต่มีความหลากหลายของโครงสร้างทางเคมีทนั้น แต่ยังมีความน้ำสนใจในแง่ของการออกฤทธิ์ทางชีวภาพอีกด้วยTrichoderma asperellum PSU-PSF14 เป็นราดินที่แยกได้จากดินอินทรีย์ในพื้นที่พรุโต๊ะแดง จังหวัดนราธิวาส จากการศึกษาเบื้องตันพบว่สารสกัดหยาบจากน้ำเลี้ยงเชื้อ (B) ของเชื้อรา Pรบ-PSF14 แสดงฤทธิ์ต้านเชื้อแบคที่เรีย Stophylococcus aureus และต้านเชื้อรา Candida albicons ด้วยค่า MC ที่เท่ากันคือ200 มย/m. อีกทั้งส่วน BE และสารสกัดหยาบจากเซลล์ (C) ยังแสดงฤทธิ์ต้านเชื้อรา Gyptococcus nefommnร ด้วยค่ MC ที่นสนใจ คือ 64 และ 32 นยmL ตามลำดับ สำหรับส่วน CE ของเชื้อรานี้ยังแสดงฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งช่องปากและเชลล์ปกติด้วยค เC เท่ากับ 20.72 และ 48.88 pg/mL  ตามลำดับ ประกอบกับข้อมูล 'H NMR สเปกตรัมของสารสกัดหยาบปรากฎสัญญาณหลักของกลุ่มสารอะโรมาติกและหม่มริล จึงทำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาการแยกเทาบอไลท์จากเชื้อราดังกล่าว โดยคาดว่าจะสามารถแยกผลิตภัณฑ์ธรรมชาติสารใหม่และสารที่มีรายงานโครงสร้างแล้วที่มีประโยชน์ทางเภสัชวิทยาได้

วัตถุประสงค์
     1. แยกสารบริสุทธิ์ที่ผลิตโดยเชื้อราดิน T. asperellum PSU-PSF14
     2. ทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารบริสุทธิ์ที่แยกได้ ได้แก่ ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ และฤทธิ์ความเป็นพิษต่อ
เชลล์มะเร็งเต้านมและมะเร็งช่องปาก ตลอดจนเชลล์ปกติ

ระเบียบวิธีดำเนินการวิจัย
     1. การเพาะเลี้ยงเชื้อราในอาหารเหลว
นำเชื้อรา T. asperellum PSU-PSF14 ไปเพาะเลี้ยงในอาหารเหลว potato dextrose broth
(PDB) ปรึมาตร 10 ลิตร ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 4 สัปดาห์
     2. การศึกษาทางเคม
     2.1 การเตรียมส่วนสกัดหยาบ
กรอง culture broth แยกเอาเส้นใยราออก แล้วสกัดน้ำเลี้ยงเชื้อด้วยเอทิลอะซีเหตจำนวน 2 ครั้ง
จากนั้นนำสารละลายเอทิลอะซีเหตไประเหยแห้งด้วยเครื่อง rotary evaporator จะได้สารสกัดหยาบ BE
สำหรับเส้นยนำมาแซ่เมทานอลเป็นเวลา 3 วัน ระเหยมธานอลออกบางส่วน เติมน้ำ แล้วทำการสกัดตัวยตัว
ทำละลายฮกเซน ได้ชันฮกเซและชั้นน้ำ ชั้น้ำนำมาสกัดตัวยวิธีการเดียวกันกับส่วนน้ำเลี้ยงเชื้อ จะได้สาร
สกัดหยาบ CE
     2.2 การแยกส่วนสกัดหยาบให้บริสุทธิ์
เริ่มด้วยการตรวจสอบองค์ประกอบทางเคมีของสารสกัดหยาบ ด้วยโครมาโทกราฟีแผ่นบาง
ชนิคตรรมดาและ/หรือขนิด reversed-phase Rp-18 โตยใช้ระบบตัวเคลื่อนที่แบบต่งๆ จากนั้น
ตรวจสอบสภาพการละลายของส่วนสกัดหยาบในตัวทำละลายอินทรียต่ง ๆ เช่น ปิโตรเลียมอีเทอร์ ได

   

 

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

Download (1)

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเมทาบอไลท์จากราดิน Trichoderma asperellum PSU-PSF14 ซึ่งแยกได้จากดินอินทรีย์ในพื้นที่พรุโต๊ะแดง จังหวัดนราธิวาส และฤทธิ์ทางชีวภาพ จากแยกสารสกัดหยาบจากน้ำเลี้ยงเชื้อและเซลล์โดยวิธีทางโครมาโทกราฟีต่างๆ สามารถแยกสารใหม่ประเภท blennolide ได้จำนวน 3 สาร (blennolides L-N , 1-3) ตลอดจนสารที่มีการรายงานโครงสร้างแล้วจำนวน 5 สาร ได้แก่ Lachnone C (4), endocrocin (5),aspergillusidone C (6), unguinol (7) และ 2-chlorounguinol (8) วิเคราะห์โครงสร้างโดยใช้ข้อมูลทางสเปกโทรสโกปี สำหรับสเตอริโอเคมีสัมพันธ์ (relative configuration) วิเคราะห์โดยใช้ข้อมูล NOEDIFF และยืนยันโครงสร้างด้วยเทคนิค X-ray สำหรับสาร 1 ส่วนสเตอริโอเคมีสมบูรณ์ (absolute configuration) กำหนดได้โดยการเปรียบเทียบข้อมูล CD (circular dichroism) ที่ได้จากการทดลองกับข้อมูล TDDFT ECD ที่ได้จากการคำนวณ จากการศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อรา Cryptococcus neoformans ATCC90112 และ ATCC90113 flucytosine-resistant พบว่าสาร 1 แสดงฤทธิ์การยับยั่งเชื้อราดังกล่าว MIC 128 และ 64 ug/mL ตามลำดับ และไม่แสดงความเป็นพิษต่อเซลล์ปกติ
ผู้วิจัย / คณะวิจัย ศ.ดร.วัชรินทร์ รุกขไชยศิริกุล,ศ.ดร.เสาวลักษ์ พงษ์ไพจิตร,ผศ.ดร.สุกัญญา เดชอดิศัย,
ดำเนินการ 2561
ระยะเวลา โครงการต่อเนื่อง 5 ปี สิ้นสุดปีงบประมาณ 2565 (เว้นปีงบประมาณ 2561)
งบประมาณ ตุลาคม 2560 - กันยายน 2565
พระราชทานพระราชดำหริ 2560