ประกาศข่าว:
ขนาดตัวอักษร:
-ก
ก
ก+
TH
EN
สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.)
Office of the Royal Development Projects Board (ORDPB)
การพัฒนาองค์กร
แผนยุทธศาสตร์และคำรับรองฯ
แผนยุทธศาสตร์/กลยุทธ์
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
แผนปฏิบัติราชการ
ตัวชี้วัดการประเมินส่วนราชการ
แผนการจัดหาพัสดุ
ประจำปีงบประมาณ 2567
ประจำปีงบประมาณ 2566
ประจำปีงบประมาณ 2565
ประจำปีงบประมาณ 2564
ประจำปีงบประมาณ 2563
ประจำปีงบประมาณ 2562
ประจำปีงบประมาณ 2561
ขั้นตอนกระบวนงาน
ขั้นตอนกระบวนงานฎีกาและวิเคราะห์โครงการ
ระยะเวลาแล้วเสร็จ
กฎหมายจัดซื้อจัดจ้าง
พ.ร.บ. จัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ.2560
ระเบียบจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ.2560
กฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง
การต่อต้านทุจริต และเรื่องร้องเรียน
การป้องกันการทุจริตและการส่งเสริมจริยธรรม
เรื่องร้องเรียน
ข้อมูลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ( ITA )
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตฯ
งบการเงินและต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
ต้นทุนต่อหน่วย
งบทดลองรายเดือน
งบการเงินรายปี
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
ศูนย์บริการข้อมูลข่าวสาร สนง. กปร.
สำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ
แบบสำรวจ
ทรัพยากรบุคคล
แผนปฏิบัติการ/ผลการดำเนินงาน
งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล/ อบรม สัมมนา
แผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล
อบรม/สัมมนา
ทุนการศึกษา
วีดีโอบรรยาย/การถอดบทเรียน
งานแต่งตั้ง
โครงสร้างสำนักงาน กปร.ตามกฎกระทรวง
กรอบอัตรากำลัง
ภารกิจงานแต่งตั้ง
กฎ/ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
งานสวัสดิการ
ระเบียบสวัสดิการ
ประเภทงานสวัสดิการ
ข่าว/ประกาศ/กิจกรรม
ประกาศทั่วไป
ประกาศสำนักงาน กปร.
ประกาศรับสมัครงาน
กิจกรรม
โครงสร้าง
ผังโครงสร้าง
คณะองคมนตรีที่ปรึกษา กปร.
อดีตเลขาธิการ กปร.
คณะที่ปรึกษาของสำนักงาน กปร.
ผู้บริหารสำนักงาน
ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง สำนักงาน กปร. (CIO)
ผู้บริหารสำนัก/กอง/ศูนย์
แบบสอบถาม
หลักสูตร นบร. / พพร.
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
การขยายผลจากศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ สู่พื้นที่โดยรอบ
แบบสำรวจความพึงพอใจการจัดงานนิทรรศการ สำนักงาน กปร.
ติดตามประเมินผล
RDPB CAMP
RDPB Camp 14
RDPB Camp 13
RDPB Camp 12
RDPB Camp 11
RDPB Camp 10
รวม RDPB Camp 8 - 14
บริการอื่น ๆ
ระบบบัญชีข้อมูล
ระบบบัญชีข้อมูล สำนักงาน กปร.
บัญชีชุดข้อมูล
คำถามที่พบบ่อย (FAQs)
เว็บบอร์ด
ร้องเรียนทุจริต
ร้องเรียนทุจริต
คู่มือการดำเนินการร้องเรียนการทุจริตฯ
แบบสำรวจความพึงพอใจในการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน สำนักงาน กปร.
แบบฟอร์มการใช้ทรัพย์สินของทางราชการ
ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
ระบบฐานข้อมูล
คู่มือบริการ
ห้องภาพ
เว็บไซต์ที่น่าสนใจ
มุมดาวน์โหลด
หนังสือสำนักงาน กปร.
หนังสือเศรษฐกิจพอเพียง
องค์ความรู้/สื่อเอกสาร
แบบคำร้องการสนับสนุนและรายงานผลโครงการ
มุมสื่อความรู้
สาระน่ารู้
สื่อวีดีทัศน์ infographic
การ์ตูน
สารคดี
สื่อเสียง
แผ่นพับ/โปสเตอร์/infographic
ติดต่อเรา
e-Mail
หน้าแรก
กษัตริย์นักพัฒนา
เศรษฐกิจพอเพียง
แนวคิดทฤษฎี
โครงการอันเนื่องฯ
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ
สำนักงาน กปร.
ประชาสัมพันธ์
หน้าแรก
การพัฒนาองค์กร
แผนยุทธศาสตร์และคำรับรองฯ
แผนยุทธศาสตร์/กลยุทธ์
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
แผนปฏิบัติราชการ
ตัวชี้วัดการประเมินส่วนราชการ
แผนการจัดหาพัสดุ
ประจำปีงบประมาณ 2567
ประจำปีงบประมาณ 2566
ประจำปีงบประมาณ 2565
ประจำปีงบประมาณ 2564
ประจำปีงบประมาณ 2563
ประจำปีงบประมาณ 2562
ประจำปีงบประมาณ 2561
ขั้นตอนกระบวนงาน
ขั้นตอนกระบวนงานฎีกาและวิเคราะห์โครงการ
ระยะเวลาแล้วเสร็จ
กฎหมายจัดซื้อจัดจ้าง
พ.ร.บ. จัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ.2560
ระเบียบจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ.2560
กฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง
การต่อต้านทุจริต และเรื่องร้องเรียน
การป้องกันการทุจริตและการส่งเสริมจริยธรรม
เรื่องร้องเรียน
ข้อมูลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ( ITA )
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตฯ
งบการเงินและต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
ต้นทุนต่อหน่วย
งบทดลองรายเดือน
งบการเงินรายปี
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
ศูนย์บริการข้อมูลข่าวสาร สนง. กปร.
สำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ
แบบสำรวจ
กษัตริย์นักพัฒนา
เศรษฐกิจพอเพียง
แนวคิดทฤษฎี
โครงการอันเนื่องฯ
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ
สำนักงาน กปร.
ประชาสัมพันธ์
ทรัพยากรบุคคล
แผนปฏิบัติการ/ผลการดำเนินงาน
งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล/ อบรม สัมมนา
แผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล
อบรม/สัมมนา
ทุนการศึกษา
วีดีโอบรรยาย/การถอดบทเรียน
งานแต่งตั้ง
โครงสร้างสำนักงาน กปร.ตามกฎกระทรวง
กรอบอัตรากำลัง
ภารกิจงานแต่งตั้ง
กฎ/ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
งานสวัสดิการ
ระเบียบสวัสดิการ
ประเภทงานสวัสดิการ
ข่าว/ประกาศ/กิจกรรม
ประกาศทั่วไป
ประกาศสำนักงาน กปร.
ประกาศรับสมัครงาน
กิจกรรม
โครงสร้าง
ผังโครงสร้าง
คณะองคมนตรีที่ปรึกษา กปร.
อดีตเลขาธิการ กปร.
คณะที่ปรึกษาของสำนักงาน กปร.
ผู้บริหารสำนักงาน
ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง สำนักงาน กปร. (CIO)
ผู้บริหารสำนัก/กอง/ศูนย์
แบบสอบถาม
หลักสูตร นบร. / พพร.
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
การขยายผลจากศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ สู่พื้นที่โดยรอบ
แบบสำรวจความพึงพอใจการจัดงานนิทรรศการ สำนักงาน กปร.
ติดตามประเมินผล
RDPB CAMP
RDPB Camp 14
RDPB Camp 13
RDPB Camp 12
RDPB Camp 11
RDPB Camp 10
รวม RDPB Camp 8 - 14
บริการอื่น ๆ
ระบบบัญชีข้อมูล
ระบบบัญชีข้อมูล สำนักงาน กปร.
บัญชีชุดข้อมูล
คำถามที่พบบ่อย (FAQs)
เว็บบอร์ด
ร้องเรียนทุจริต
ร้องเรียนทุจริต
คู่มือการดำเนินการร้องเรียนการทุจริตฯ
แบบสำรวจความพึงพอใจในการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน สำนักงาน กปร.
แบบฟอร์มการใช้ทรัพย์สินของทางราชการ
ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
ระบบฐานข้อมูล
คู่มือบริการ
ห้องภาพ
เว็บไซต์ที่น่าสนใจ
มุมดาวน์โหลด
หนังสือสำนักงาน กปร.
หนังสือเศรษฐกิจพอเพียง
องค์ความรู้/สื่อเอกสาร
แบบคำร้องการสนับสนุนและรายงานผลโครงการ
มุมสื่อความรู้
สาระน่ารู้
สื่อวีดีทัศน์ infographic
การ์ตูน
สารคดี
สื่อเสียง
แผ่นพับ/โปสเตอร์/infographic
ติดต่อเรา
e-Mail
หน้าหลัก
หลักการทรงงาน
หลักการทรงงาน
แนวคิดและทฤษฎี
ประมวลผลพระราชดำรัส
ขั้นตอนการทรงงาน
พระราชนิพนธ์
ส.ค.ส. พระราชทาน
ถวายพระพร
หลักการทรงงาน
๑. ซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกัน
ทรงมีพระราชดำรัส เรื่อง ความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกันอย่างต่อเนื่องตลอดมา เพราะเห็นว่าหากคนไทยทุกคนได้ร่วมมือกันช่วยชาติ พัฒนาชาติด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกันแล้ว ประเทศไทยจะเจริญก้าวหน้าอย่างมาก
๒. อ่อนน้อม ถ่อมตน
การอ่อนน้อม ถ่อมตน เป็นคุณสมบัติที่ทุกคนพึงมีพึงปฏิบัติให้เป็นปกติวิสัยซึ่งทำให้สังคมมีความสมานสมานฉันท์ ทรงปฏิบัติให้เห็นมาโดยตลอด ทรงอ่อนน้อมมาก เวลาที่เสด็จฯ ไปเยี่ยมราษฎร ทรงโน้มพระวรกายไปหาประชาชน คุกเข่าหน้าประชาชน ถามทุกข์สุข ปรึกษาหารือเป็นชั่วโมงๆ ประชาชนนั่งพับเพียบ พระองค์ท่านก็ทรงทรุดพระวรกายนั่งพับเพียบบนพื้นเดียวกัน
๓. ความเพียร
ความเพียรเป็นคุณสมบัติที่จะทำให้งานสำเร็จ ต้องมีความมุ่งมั่น โดยเฉพาะการทำงานเพื่อประโยชน์ส่วนรวม ทรงปฏิบัติให้เห็นโดยทรงเรือใบจากวังไกลกังวลข้ามอ่าวไทยขึ้นฝั่งที่สัตหีบ ทรงใช้เวลาเดินทาง ๑๗ ชั่วโมงบนเรือขนาดยาวเพียง ๑๓ ฟุต ลำเรือแคบ ๆ ทรงแสดงให้เห็นถึงการใช้ความเพียรในการทำงานให้สำเร็จ
๔. รู้ รัก สามัคคี
“รู้ รัก สามัคคี” เป็นพระราชดำรัส ที่มีค่าและมีความหมายลึกซึ้ง พร้อมทั้งสามารถปรับใช้ได้กับทุกยุคทุกสมัย
๕. ทำเรื่อย ๆ ทำแบบสังฆทาน
ปัญหาต่าง ๆ ของประเทศชาติเกิดขึ้นอย่างไม่รู้จบ จำเป็นต้องทุ่มเทกำลังความสามารถเข้าไปแก้ไข จะหยุดการทำงานไม่ได้ จึงต้องทำเรื่อย ๆ ไม่สามารถหยุดงานช่วยเหลือประชาชนได้ โดยพระองค์ทรงงงานมาตลอด ๗๐ ปี “หลักสังฆทาน” มีความหมายคือ “ให้เพื่อให้” เป็นการให้โดยไม่เลือก ไม่หวังผลตอบแทน และไม่เลือกปฏิบัติ
๖. มีความสุขในการทำประโยชน์ให้กับผู้อื่น
ความสุขเป็นเรื่องของการทำประโยชน์ให้เกิดขึ้น ซึ่งความสุขที่แท้จริงคือ การทำประโยชน์ให้ผู้อื่น มิใช่ทำให้ตนเองเพียงเท่านั้น ต้องสร้างประโยชน์กับคนอื่น เมื่อคนอื่นมีความสุขแล้วเราก็มีความสุขด้วย โดยความสุขของผู้อื่น คือความสุขส่วนรวมนั่นเอง เราต้องยึดประโยชน์ส่วนรวมมาก่อนประโยชน์ส่วนตน
๗. ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำงานอย่างผู้รู้จริง
การที่จะพระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่งจะทรงศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบ ทั้งข้อมูลเบื้องต้นจากเอกสาร และแผนที่ ตลอดจนสอบถามจากเจ้าหน้าที่ นักวิชาการ และราษฎรในพื้นที่ให้ได้รายละเอียดที่ถูกต้อง รวมทั้งศึกษาตรวจสอบและทอดพระเนตรในพื้นที่จริง เพื่อที่จะพระราชทานความช่วยเหลือได้อย่างถูกต้องรวดเร็วตรงตามความต้องการของประชาชน และสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม
๘. ระเบิดจากข้างใน
ทรงมุ่งเน้นเรื่องการพัฒนาคน ดังพระราชดำรัสว่า “ระเบิดจากข้างใน” หมายความว่า ต้องสร้างความเข้มแข็งให้คนในชุมชนที่เราเข้าไปพัฒนาให้มีสภาพพร้อมที่จะรับการพัฒนาเสียก่อน แล้วจึงค่อยออกมาสู่สังคมภายนอก มิใช่การนำเอาความเจริญหรือบุคคลจากสังคมภายนอกเข้าไปหาชุมชนที่ยังไม่ทันได้มีโอกาสเตรียมตัว หรือตั้งตัว อย่าให้โดยที่ผู้รับยังไม่พร้อมที่จะใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่
๙. ทำตามลำดับขั้น
ในการทรงงานพระองค์จะทรงเริ่มต้นจากสิ่งจำเป็นที่สุดของประชาชนก่อน ได้แก่ สาธารณสุข เมื่อมีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงแล้วก็จะสามารถทำประโยชน์ด้านอื่นๆ ต่อไปได้ จากนั้นจะเป็นเรื่องสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานและสิ่งจำเป็นในการประกอบอาชีพ
๑๐. ภูมิสังคม
การพัฒนาใด ๆ ต้องคำนึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้น ๆ ว่าเป็นอย่างไร และสังคมวิทยาเกี่ยวกับลักษณะนิสัยใจคอของคน ตลอดจนประเพณีวัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่นที่มีความแตกต่างกัน และใช้หลักในการปรับตัวให้อยู่กับธรรมชาติให้ได้
๑๑. องค์รวม
ในการที่จะพระราชทานพระราชดำริเกี่ยวกับโครงการหนึ่งนั้น จะทรงมองเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นและแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยง อย่างครบวงจร ทรงเรียกวิธีนี้ว่า องค์รวม (Holistic) หมายถึง การมองเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นแบบบูรณาการ และกำหนดแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยง โดยพิจารณาครบทุกด้านของปัญหา พร้อมแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยงกันเป็นระบบ
๑๒. ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด
ในเรื่องของความประหยัดนี้ ประชาชนชาวไทยทราบกันดีว่าเรื่องส่วนพระองค์ทรงประหยัดมากดังที่เราเคยเห็นว่า หลอดยาสีพระทนต์นั้นทรงใช้อย่างคุ้มค่าอย่างไร หรือฉลองพระองค์แต่ละองค์ทรงใช้อยู่เป็นเวลานาน
๑๓. ขาดทุนคือกำไร
ารพัฒนาเพื่อการอยู่ดีกินดีของประชาชนนั้น อย่าไปนึกหวังกำไรหรือผลตอบแทนแต่อย่างเดียว ทำอะไรต้องลงทุนลงแรงและปัจจัยบางอย่างเสียก่อนเพื่อสร้างผลกำไรในอนาคต คือ ความอยู่ดีมีสุขของประชาชน
๑๔. ปลูกป่าในใจคน
ป่าไม้เป็นปัจจัยสำคัญของชีวิตมนุษย์ หากไม่มีการปลูกจิตสำนึกในการรักษาป่าไม้ให้กับทุกคนแล้ว จะทำให้การดำรงชีวิตของมนุษย์เป็นไปด้วยความยากลำบาก เจ้าหน้าที่ของรัฐดูแลรักษาป่าไม้ด้วยหน้าที่พึงกระทำ แต่ชาวบ้านจะสามารถดูแลและหวงแหนป่าไม้ด้วยจิตสำนึกเพื่อรักษาปัจจัยแห่งชีวิตของตนเอง
๑๕. ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ
ทรงเข้าใจถึงธรรมชาติและต้องการให้ประชาชนใกล้ชิดกับธรรมชาติ ทรงมองเห็นถึงปัญหาของธรรมชาติได้อย่างละเอียด หากเราต้องการแก้ไขปัญหาธรรมชาติ จึงจำเป็นต้องใช้ธรรมชาติเข้าช่วยเหลือ ไม่ว่าจะเป็นการบำบัดน้ำเสีย ด้วยการใช้ น้ำดีไล่น้ำเสีย โดยอาศัยหลักแรงโน้มถ่วงตามธรรมชาติ (Gravity Flow)
๑๖. อธรรมปราบอธรรม
ทรงนำความจริงในเรื่องความเป็นไปแห่งธรรมชาติ และกฎเกณฑ์ของธรรมชาติมาเป็นหลักการแนวปฏิบัติที่สำคัญในการแก้ปัญหาและเปลี่ยนแปลงสภาวะที่ไม่ปกติให้เข้าสู่ปกติ ทรงคิดค้นวิธีบำบัดน้ำเสียโดยใช้ผักตอบชวาดูดซึมสิ่งสกปรกปนเปื้อนในน้ำ และเป็นที่มาของ “อธรรมปราบอธรรม”
๑๗. ประโยชน์ส่วนรวม
ทรงเห็นว่าการทำงานทุกอย่างของเรานั้นมีผลเกี่ยวเนื่องถึงประโยชน์ส่วนรวมของบ้านเมืองและประชาชนทุกคน เพราะฉะนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติหน้าที่ทุก ๆ ประการให้บริสุทธิ์ บริบูรณ์ โดยเต็มกำลังสติปัญญา ความรู้ ความสามารถ การปฏิบัติพระราชกรณียกิจและการพระราชทานพระราชดำริในการพัฒนาและช่วยเหลือพสกนิกรทรงระลึกถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสำคัญ
๑๘. การพึ่งตนเอง
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ ในเบื้องต้นเป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพื่อให้ประชาชนมีความแข็งแรงพอที่จะดำรงชีวิตได้ และขั้นตอนต่อไปคือ การพัฒนาให้ประชาชนสามารถอยู่ในสังคมได้ตามสภาพแวดล้อม สามารถพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน
๑๙. เศรษฐกิจพอเพียง
ศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักความคิดที่จะดำเนินการเรื่องต่าง ๆ เพื่อนำชีวิตไปสู่ความสมดุล มั่นคง และยั่งยืน เสมือนเป็นการวางฐานรากของตัวอาคาร
๒๐. เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา
เข้าใจ : ทำอะไรต้องเข้าใจปัญหา เข้าใจหนทางแก้ไข เข้าใจกระบวนการจัดการ และปรับความเข้าใจระหว่างผู้ให้ ผู้รับเสียก่อน ให้เข้าใจซึ่งกันและกัน เข้าถึง : เมื่อเข้าใจระหว่างกันทุกประการครบถ้วนแล้ว ต้องเข้าถึงการกระทำ สร้างความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้อง เข้าถึงเครื่องไม้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ และความสามัคคีร่วมจิตร่วมใจของผู้ปฏิบัติ ร่วมมือร่วมไม้กันทำงาน พัฒนา : เมื่อต่างฝ่ายต่างเข้าใจกันแล้ว เข้าถึงกันแล้ว การพัฒนาก็จะดำเนินการไปอย่างยั่งยืน ไม่ส่งผลกระทบที่ติดลบต่อระบบเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและการเมือง หากแต่นำไปสู่ความสมดุล มั่นคง และยั่งยืน
<<
<
1
2
>
>>
ระบุข้อมูลที่ต้องการค้นหา
×
Close
หมวดหมู่
- ทั้งหมด -
ข่าวสารฯ
โครงการฯ
สารคดี(สื่อวิทยุ)
สารคดี(สื่อวีดีทัศน์)
มุมดาวน์โหลด
ฐานข้อมูลศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง 47 แห่ง
ฐานข้อมูลศูนย์เรียนรู้ตามแนวพระราชดำริ 111 ศูนย์
ฐานข้อมูลการศึกษาทดลองและวิจัยของศูนย์
หัวข้อ
สารคดี
ดูทั้งหมด
สารคดีเฉลิมพระเกียรติ ชุด ร้อยไทยด้วยดวงใจปี 2567 : ตอนที่ 6 ป่าคู่แผ่นดิน
รายละเอียด
แบบสอบถาม
ท่านคิดว่าเว็บไซต์สำนักงาน กปร. มีข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์เพียงใด ?
มาก
ปานกลาง
น้อย
See Result
ผลลัพธ์แบบสอบถาม
×
Close
วิทยุ
ดูทั้งหมด
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
×
Close
ขอบคุณที่สมัครรับข่าวสารจาก Rdpb.go.th
×
Close